ศักยภาพในตำบล |
|
ศักยภาพตำบล
1. ด้านการเมือง และการบริหารงานบุคคล
ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2552 ได้แบ่งโครงสร้าง
องค์การบริหารส่วนตำบลเป็น 2 ส่วน คือ สภาองค์การบริหารส่วนตำบล และนายกองค์การบริหารส่วนตำบล
- สภาองค์การบริหารส่วนตำบลคุระ มีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลจากการเลือกตั้งโดยตรงทั้งหมด 24 คน เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2551 ประกอบด้วย
ประธานสภาคนหนึ่ง รองประธานสภาคนหนึ่ง โดยให้นายอำเภอแต่งตั้งจากสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลตามมติของสภา และเลขานุการสภาคนหนึ่งมา
จากคัดเลือกจากสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
- นายกองค์การบริหารส่วนตำบลคุระ มาจากการเลือกตั้งโดยตรงเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2555 และแต่งตั้งรองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลคุระได้ 2 คน
ซึ่งมิใช่สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นผู้ช่วยเหลือ ในการบริหารราชการขององค์การบริหารส่วนตำบล และอาจแต่งตั้งเลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนตำบลคนหนึ่ง
ซึ่งมิได้เป็นสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐได้
นอกจากองค์ประกอบสำคัญทั้ง 2 ส่วน คือ สภาองค์การบริหารส่วนตำบล และนายกองค์การบริหารส่วนตำบล ยังมีส่วนหนึ่งที่สำคัญคือ พนักงานส่วนตำบล
เป็นเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบล ในการปฏิบัติงานประจำสำนักงานตามที่กฎหมายกำหนด ในการให้บริการแก่ประชาชน โดยมีปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นผู้บังคับบัญชา และรับผิดชอบงานประจำขององค์การบริหารส่วนตำบล
องค์การบริหารส่วนตำบลคุระ มีบุคลากรทั้งหมดจำนวน 43 คน ประกอบด้วย
1. พนักงานส่วนตำบล จำนวน 22 คน
2. พนักงานจ้าง จำนวน 21 คน
ระดับการศึกษาของบุคลากร
- ประถมศึกษา จำนวน 4 คน
- มัธยมศึกษา / อาชีวศึกษา จำนวน 9 คน
- ปริญญาตรี จำนวน 26 คน
- ปริญญาโท จำนวน 3 คน
2. เครื่องมือเครื่องใช้ในการปฏิบัติงาน
- รถยนต์กระบะปิคอัพ 2 ตอน 2 คัน
- รถยนต์กระบะปิคอัพ ตอนครึ่ง 1 คัน
- รถยนต์บรรทุกขยะแบบอัดท้าย 1 คัน
- รถจักรยานยนต์ 3 คัน
- รถตักหน้าขุดหลัง 1 คัน
3. สถานะทางการคลัง
รายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบลคุระ ประจำปีงบประมาณ 2557 ประกอบด้วย
|
- ภาษี ที่ อบต. จัดเก็บเอง
|
3,562,715.68 บาท
|
- ภาษีที่หน่วยงานอื่นจัดเก็บให้
|
19,696,208.94 บาท
|
- เงินอุดหนุนทั่วไป
|
17,457,898.00 บาท
|
- เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ
|
9,488,072.00 บาท
|
รวมรายได้ทั้งสิ้น
|
50,204,894.62 บาท
|
|
|
|
|
|
|
|
สภาพทางเศรษฐกิจ |
|
สภาพทางเศรษฐกิจ
อาชีพ
- ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางด้านการเกษตร
เช่น ยางพารา, ปาล์ม, ไม้ผล ฯลฯ ประมาณ 55% ผลผลิตที่ได้ออกสู่ตลาดจำนวนมาก
ทำให้ขายไม่ได้ราคาเนื่องจากไม่มีตลาดรองรับและไม่มีการประกันราคาผลผลิต
ทางการเกษตร ประกอบกับยังขาดการรวมกลุ่มและไม่มีตลาดกลางสำหรับ
จำหน่ายแลกเปลี่ยนสินค้าทางด้านเกษตร
- การทำประมง ประมาณ 15% ส่วนมากจะเป็นการทำประมงชายฝั่ง กระชังเลี้ยงสัตว์น้ำและนากุ้ง
- การเลี้ยงสัตว์ ประมาณ 10% จะเป็นการเลี้ยงสัตว์เพื่อเสริมรายได้ เช่น วัว, แพะ, ไก่ ฯลฯ
- อื่น ๆ เช่น ค้าขาย รับจ้าง ประมาณ 20%
หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล
- โรงงานอุตสาหกรรมปลาป่น จำนวน 3 แห่ง
- โรงงานอตสาหกรรมฟาร์ม จำนวน 1 แห่ง
- โรงงานน้ำแข็ง จำนวน 2 แห่ง
- ปั้มน้ำมันขนาดใหญ่ จำนวน 1 แห่ง
- ปั้นน้ำมันขนาดเล็ก จำนวน 4 แห่ง
- โรงงานบรรจุแก๊ส จำนวน 1 แห่ง
|
|
|
|
|
|
|
สภาพทางสังคม |
|
สภาพทางสังคม
การศึกษา
- โรงเรียนระดับประถมศึกษา จำนวน 5 แห่ง ดังนี้
|
ลำดับที่
|
รายชื่อโรงเรียน
|
ชาย
|
หญิง
|
รวม
|
1
|
โรงเรียนบ้านหินลาด
|
263
|
258
|
521
|
2
|
โรงเรียนบ้านเตรียม
|
152
|
164
|
316
|
3
|
โรงเรียนบ้านห้วยทรัพย์
|
93
|
81
|
174
|
4
|
โรงเรียนบ้านบางหว้า
|
90
|
98
|
188
|
5
|
โรงเรียนบ้านสวนใหม่
|
34
|
35
|
69
|
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 5 แห่ง คือ
|
ลำดับ
|
รายชื่อโรงเรียน
|
ชาย
|
หญิง
|
รวม
|
1
|
โรงเรียนบ้านหินลาด
|
34
|
26
|
60
|
2
|
โรงเรียนบ้านเตรียม
|
23
|
14
|
37
|
3
|
โรงเรียนบ้านห้วยทรัพย์
|
22
|
22
|
44
|
4
|
โรงเรียนบ้านบางหว้า
|
38
|
31
|
69
|
5
|
โรงเรียนบ้านสวนใหม่
|
3
|
3
|
6
|
- ที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน จำนวน 7 แห่ง
สถาบันและองค์กรทางศาสนา
1. วัด จำนวน 2 แห่ง คือ
|
- วัดนางย่อน
|
หมู่ที่ 2
|
- วัดบ้านเตรียม
|
หมู่ที่ 9
|
2. มัสยิด จำนวน 12 แห่ง
|
- มัสยิดซอลาฮุดดีน
|
หมู่ที่ 4
|
- มัสยิดบาบุสลาม
|
หมู่ที่ 4
|
- มัสยิดนูรุ้ลอีหมาน
|
หมู่ที่ 5
|
- มัสยิดบ้านห้วยทรัพย์
|
หมู่ที่ 6
|
- มัสยิดนุรุลอามาน๊ะ
|
หมู่ที่ 6
|
- มัสยิดบ้านนูรุ้ลกอมัร
|
หมู่ที่ 10
|
- มัสยิดนูรุ้ลอิม่าน
|
หมู่ที่ 10
|
- มัสยิดอันฮูดา
|
หมู่ที่ 11
|
- มัสยิดกูวาตุดดีน
|
หมู่ที่ 11
|
- มัสยิดนู่หรนหยันน๊ะฮ์
|
หมู่ที่ 12
|
- มัสยิดดาริสสลาม
|
หมู่ที่ 12
|
สาธารณสุข
|
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
|
1 แห่ง
|
- ร้านขายยาแผนปัจจุบัน
|
2 แห่ง
|
- คลินิก
|
1 แห่ง
|
- อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ
|
ร้อยละ 100%
|
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
|
- ป้อมยามตำรวจ
|
- ป้อมยามหมู่บ้าน
|
|
|
|
|
|
|
การบริการพื้นฐาน |
|
การบริการพื้นฐาน
การคมนาคม
ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลคุระมีถนนสายหลักคือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ตอนระนอง-ตะกั่วป่า ผ่านหมู่ที่ 1, 3, 4, 6, 10, 11 และ 12
การโทรคมนาคม
- ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลขใช้ร่วมกับเทศบาลตำบลคุระบุรี 1 แห่ง
การไฟฟ้า
- ตำบลคุระมีไฟฟ้าใช้ 12 หมู่บ้านแต่ไม่ครอบคลุมทั้งหมู่บ้าน คิดเป็นร้อยละประมาณ 97 ของพื้นที่ทั้งหมด
แหล่งน้ำธรรมชาติ
- คลอง, ลำห้วย 14 สาย
- น้ำตก 3 แห่ง
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
- ฝาย 4 แห่ง
- บ่อน้ำตื้น 411 แห่ง
- อ่างเก็บน้ำ 3 แห่ง
- ประปาหมู่บ้าน 4 แห่ง
|
|
|
|
|
|
|
สภาพทั่วไป |
|
สภาพทั่วไป
องค์การบริหารส่วนตำบลคุระ เป็นองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบองค์การบริหารส่วนตำบล ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่ขององค์การบริหารส่วนตำบลทั้งหมดที่มีอยู่ในอำเภอคุระบุรี จัดตั้งขึ้นตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2539 ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 120/43 หมู่ที่ 1 ตำบลคุระ อำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา
ที่ตั้งและอาณาเขต
ภูมิประเทศ องค์การบริหารส่วนตำบลคุระตั้งอยู่ทางทิศเหนือของอำเภอคุระบุรี มีเนื้อที่ทั้งหมด 194,935 ไร่ หรือ 311.896 ตารางกิโลเมตร อยู่ห่างจากศาลากลางจังหวัดพังงา ประมาณ 124 กิโลเมตร
|
- ทิศเหนือ
|
ติดต่อกับอำเภอสุขสำราญ
|
จังหวัดระนอง
|
- ทิศใต้
|
ติดต่อกับเทศบาลตำบลคุระบุรี อำเภอคุระบุรี
|
จังหวัดพังงา
|
- ทิศตะวันออก
|
ติดต่อกับอำเภอพนม
|
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
|
- ทิศตะวันตก
|
ติดต่อกับตำบลเกาะพระทอง อำเภอคุระบุรี
|
จังหวัดพังงา และทะเลอันดามัน
|
ภูมิประเทศ ตำบลคุระมีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ลาดเชิงเขาดิน สูงจากระดับน้ำทะเล 20-30 เมตร ประมาณ 35% ของพื้นที่ทั้งหมด พื้นที่สูงจากระดับน้ำทะเล 10 – 20 ประมาณ 13% และพื้นที่ราบชายฝั่งทะเล ประมาณ 10% นอกจากนี้ยังมีแหล่งน้ำตามธรรมชาติไหลผ่านกระจายอยู่ทั่วพื้นที่ สภาพดินเป็นดินร่วน
ลักษณะภูมิอากาศ
องค์การบริหารส่วนตำบลคุระ มีสภาพภูมิอากาศแบบมรสุมเมืองร้อน ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้ และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ทำให้มีฤดูกาล 2 ฤดูคือ
- ฤดูร้อน เริ่มจากเดือนมกราคม – เมษายน
- ฤดูฝน เริ่มจากเดือนพฤษภาคม – ธันวาคม มีฝนตกชุก
จำนวนหมู่บ้าน ตำบลคุระมี 12 หมู่บ้าน
- จำนวนหมู่บ้านที่มีพื้นที่อยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลทั้งหมด มีจำนวน 10 หมู่บ้านได้แก่ หมู่ที่ 2, 3, 4, 5, 6, 7, 9, 10, 11 และหมู่ที่ 12
- จำนวนหมู่บ้านที่มีพื้นที่อยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลบางส่วน มีจำนวน 2 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 8
ท้องถิ่นอื่นในตำบล ในเขตตำบลคุระมีองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นสองรูปแบบ คือเทศบาลตำบลคุระบุรี และองค์การบริหารส่วนตำบลคุระ
จำนวนประชากรและครัวเรือน
|
หมู่ที่/บ้าน
|
ปี 2564
|
ปี 2565
|
ชาย
|
หญิง
|
รวม
|
ครัวเรือน
|
ชาย
|
หญิง
|
รวม
|
ครัวเรือน
|
หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งนา
|
256
|
265 |
521 |
339 |
259
|
266
|
525 |
338
|
หมู่ที่ 2 บ้านกลาง
|
286 |
259 |
545 |
332 |
290 |
255 |
545 |
332
|
หมู่ที่ 3 บ้านหินลาด
|
1,272
|
1,282
|
2,554
|
1,432
|
1,280
|
1,288
|
2,568
|
1,454
|
หมู่ที่ 4 บ้านเตรียม
|
645
|
643
|
1,288
|
438
|
650 |
644 |
1,294
|
443
|
หมู่ที่ 5 บ้านทุ่งนางดำ
|
107
|
77
|
184
|
129
|
112 |
82 |
194 |
129
|
หมู่ที่ 6 บ้านห้วยทรัพย์
|
618 |
611 |
1,229
|
362 |
624 |
615 |
1,239 |
364
|
หมู่ที่ 7 บ้านบางซอย
|
277 |
266
|
543
|
307
|
275
|
263 |
538 |
308
|
หมู่ที่ 8 บ้านทุ่งมะเดื่อ
|
154
|
160
|
314
|
157
|
153
|
162 |
315 |
157
|
หมู่ที่ 9 บ้านบางหว้า
|
452
|
468
|
920
|
323
|
456
|
467 |
923 |
324
|
หมู่ที่ 10 บ้านบางหละ
|
722 |
662 |
1,384
|
378
|
734
|
666 |
1,400 |
379
|
หมู่ที่ 11 บ้านแสงธรรม
|
338
|
333
|
671
|
197
|
339
|
334 |
673 |
198
|
หมู่ที่ 12 บ้านสวนใหม่
|
413 |
433
|
846
|
256
|
416
|
443 |
859 |
260
|
รวม
|
5,540
|
5,459
|
10,899
|
4,650
|
5,588
|
5,485
|
11,073
|
4,686
|
ข้อมูล ณ เดือน กุมภาพันธ์ 2565
|
|
|
|
|
|
|
|